วันพุธที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒

เก็บมาเล่า การถ่ายภาพสารคดี (Documentary)

“People of the city can’t live even a single day if we stop serving you, but we couldn’t be a part of you still now,” said Shahara Khatun, a 66 years old woman of Dhaka’s Bihari camp. For the last 36 years, 22,000 people, packed in an area of 60,000 square metres, have lived, breathed, reproduced and survived, without the protection, benefits and recognition of a state, in a small section of the Dhaka city’s Mohammadpur area known as ‘Geneva Camp’, in the ‘state’ of Bangladesh.

The community has been forced to live as 'refugee' as a retribution of supporting Pakistan, during independence of Bangladesh. A community that possess many useful and sublime skills in labour, one that has its own literature and language, its own norms and customs, many culinary and cultural treats, have been buried under the title ‘refugee’. Today, in the twenty-first century the Biharis still exist without a state.

During my teens, I used to sneak out of my house when my mother is still in her afternoon siesta. I used to run through the small lane, go round and round with friends and finally reach to a slum like place. Elderly people used to call it “Camp Bazaar”. They said, these were temporary housing made for the Biharis after liberation war, who opted for Pakistan. Biharis were very keen on taming wild pigeons. I used to get bemused seeing Maruf, Mizan or Sahadat taking those pigeon out of the hole of tiny sheds and play with them. One day, Mizan gave me a pair of white pigeon. I always wanted to have my very own pigeons to raise them in my veranda of our rented house. But bringing any gift from Biharis was not allowed at home. My dreams were shattered and my parents grounded me, as they used to think; being in company of Biharis will derail me.

Being a photographer, I started exploring my own experience in the camp. Among the overwhelming population in the tiny camp I found a strong neighbourhood. Patches of sky seen through the shabby quarters and narrow allies of the slum was the only breathing space for the dwellers. A space without any empty space, embroidery works by women, religious environment continued to characterize the life of the camp. Here, kids still fly their pigeon; milads (religious recitation) are performed in tiny shelters, children runs through the allies.

Photographer: Andrew Biraj
Title: State Excluded
Location: Bangladesh

การถ่ายภาพสารคดี (Documentary)
March 16, 2009
การถ่ายภาพ สารคดี (Documentary) เหมือนงานเอกสาร แต่ต้องแปลจากตัวหนังสือมาเป็นภาพถ่าย ภาพถ่ายสารคดีไม่ได้จำกัดเฉพาะแค่ภาพถ่ายวิถีชีวิตหรือสังคมเท่านั้น แต่มันรวมไปถึง ภาพถ่ายสถาปัตยกรรม ภาพถ่ายทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ภาพถ่ายธรรมชาติ ภาพถ่ายเชิงมานุษยวิทยา ภาพถ่ายเดินทาง ท่องเที่ยว ภาพถ่ายทางดาวเทียม ล้วนแต่เป็นงานภาพถ่ายเชิงสารคดีทั้งสิ้น

วัตถุประสงค์หลักของภาพถ่ายประเภทนี้คือการ บันทึกหลักฐานเอกสารเพื่อเก็บเป็นข้อมูล ในฐานะสื่อทางภาพที่มีอิทธิพลต่อความคิดและอารมณ์ ขอบเขตของงานภาพสารคดีจึงมิได้หยุดอยู่แค่การบันทึกข้อมูลหลักฐานเอกสารเท่านั้น รูปแบบของภาพถ่ายสารคดียังนำไปใช้ในการโน้มน้าวกระแสสังคมได้อีกด้วย

ความแตกต่างของภาพ สารคดี (Documentary) กับภาพข่าว, conceptual และ street shoot
- การถ่ายภาพสารคดี (Documentary) เหมือนงานเอกสาร แต่ต้องแปลจากตัวหนังสือเป็นภาพ เป็นการถ่ายภาพตามความเป็นจริงภาพไม่มีการตัดต่อ หรือจัดฉาก หรือสร้างเรื่องราวขึ้นมาเอง ใช้เวลาเรียนรู้กับเรื่องนั้น ๆ นาน
- การถ่ายภาพข่าวคือการบันทึกเหตุกาณ์ที่เกิดขึ้น อย่างทันทีทันใดตามความเป็นจริง แต่ไม่ได้สาวลึกเข้าไปในรายละเอียด
- การถ่ายภาพแบบ Conceptual คือการถ่ายภาพแบบวาง concept ตามมโนภาพของช่างภาพว่าต้องการให้ภาพออกมาแบบไหน
การถ่ายภาพแบบ Street shoot คือการถ่ายภาพแบบเดินตามถนน เห็นอะไรน่าสนใจก็ถ่ายแต่ไม่ได้ลงลึกในรายละเอียดที่มาที่ไปของภาพ

ภาพสารคดีที่ดีต้องมี:
1. ความสวยงามตามองค์ประกอบภาพ
2. เนื้อหาของภาพ ตามความเป็นจริงของสังคม ในแง่ดี หรือแง่ร้ายก็ได้ จะเป็นภาพเดียวหรือ เป็นชุดก็ได้
3. การทำงาน ภาพถ่ายแบบ Documentary เหมือนการทำ วิทยานิพนธ์ ตอนที่จะจบมหาวิทยาลัยนั่นเอง
4. ต้องศึกษาค้นคว้าข้อมูลในเชิงลึกว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทั้งในด้านบวกและด้านลบ หาต้นกำเนิด แหล่งที่มา อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
5. วาง conceptของภาพที่อิงกับความเป็นจริง สำรวจและทำความเข้าใจในสิ่งที่จะถ่าย ทำความคุ้นเคย ทำตัวกลมกลืน สร้างมิตรภาพระหว่างช่างภาพและสิ่งที่เราจะถ่าย ทำให้เกิดความไว้เนื้อเชื่อใจ เพื่อสร้าง Connection เพื่อในโอกาสหน้า มีข่าวคราวอะไรจะติดต่อเราให้มาถ่ายได้
6. ไม่ควรจัดฉากถ่าย หรือ set ถ่ายภาพ (คงเหมือนสอบได้เกรด 4 แต่ลอกเขามา คงไม่ภูมิใจเท่าไร)
7. การแต่งภาพ ไม่ควรทำ ทำได้แค่ปรับความสว่าง มืด ของภาพเท่านั้น สายไฟที่รกเราก็ต้องเก็บไว้เพราะนั่นคือความจริง แต่บางอย่างที่เคลื่อนย้ายได้ และรกหูรกตา ก็เก็บกวาดออกก่อนถ่ายจะดีกว่า
8. การถ่ายภาพแบบ สารคดี (Documentary) จำเป็นต้องเป็นภาพ ขาว ดำหรือไม่ : ไม่จำเป็นแต่ที่ช่างภาพส่วนมากใช้ ขาว ดำ เพราะภาพขาวดำส่วนมากสื่ออารมณ์ได้ดี และช่างภาพต้องการลบสีสันในภาพออกไป ไม่ให้รบกวานสายตา, ภาพหดหู่ ต้องส่วนมากใช้ขาวดำ, แต่บางภาพไม่ควรใช้ภาพขาวดำเพราะผิดธรรมชาติ เช่นภาพ "ใบไม้ใบสุดท้าย" แต่เป็นภาพขาวดำ เราไม่สามราถมองเห็นได้ว่าใบสุดท้ายมันสีอะไร?
9. เรื่องที่ต้องการนำเสนอสำคัญที่สุด ความงามของภาพเป็นอันดับต่อมา ต้องสามารถสื่อให้เห็นสถานที่ได้ ใช้ภาพให้ หลากหลายมุมมอง
10. ต้องมีเวลาและทุ่มเทเวลากับโปรเจ็คนั้น ๆ อาจเป็นปี ถ่ายแล้วกลับมาดู ถ้าไม่ดีก็กลับไปถ่ายใหม่
11. เงินทุน เพราะตอนที่เรายังไม่มีชื่อเสียงเราต้องเริ่มแสวงหาข้อมูลและออกถ่ายด้วยตัวเราเอง (อันนี้มีทางแก้… ก็ชวน เพื่อน ๆ ไปสิจะได้แชร์ค่ารถ อิอิ..) หลังจากเสร็จโปรเจ็คแล้วก็ทำเรื่องขายก็จะได้เงินมา
12. ต้องมีจุดประสงค์ว่า ต้องการถ่ายไปเพื่ออะไร.. ส่งพิมพ์ตามหนังสือ หรือส่งขาย แต่สิ่งสำคัญทีควรทำคือ .. ขอให้ผลงานนั้นคืนกลับสู่สังคม คืนกลับสู่ต้นกำเนิดของภาพ อาจจะเป็นการทำ postcard ขาย กำไรคืนสู่ต้นกำเนิด เพื่อเป็นการช่วยสังคมให้ดีขึ้น อย่างน้อยก็เป็นกระบอกเสียงให้สังคมรับทราบและตื่นตัว
13. ต้องชั่งน้ำหนักด้วยว่าเรื่องบางเรื่องควรแตะต้องถ้าต้องการกระจายข่าวให้สังคมรับรู้ แต่เรื่องบางเรื่องถ้าทำแล้วมันทำให้ต้นกำเนิดภาพเสื่อมเสียหรือเสียหาย หรือจะต้องเปลี่ยนแปลงไปในทางที่แย่ลงก็ไม่ควรทำ
14. ทำตัวเป็นกลาง ไม่เอนเอียงไปฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
15. แก้สถานการณ์ล่วงหน้าได้
DAO (สรุปจากการอบรมในหัวข้อการถ่ายภาพสารคดี กับ คุณสุเทพ กฤษณาวารินทร์)

*คัดลอกมาจาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชุลีพร เกษโกวิท, การถ่ายภาพวารสารศาสตร์, บทที่ 8 สารคดี, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2546
และควรอ่าน
http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=News&file=article&sid=2398
http://www.focusingclub.net/article/art-technic/documentary-photography/#more-1237

วันอังคารที่ ๒ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๒

European Media Art Festival - EMAF

Festival Description:

For over 20 years, the European Media Art Festival- The Forum for expanded Media has been the meeting point for audiences and guests from home and abroad. Around 250 new works of media art, including world premieres, are presented. The festival shows film as a contemporary work of art in cinemas and exhibitions, both performed and using multimedia.

Each year around 180 current experimental shorts, feature-length films and videos are selected from a total of roughly 2000 works submitted from around the world. They range from narrative approaches to documentary/analytical views of war events and environmental problems. Visually walking the borderline between real and virtual areas of communication is also selected as a central theme. There are countries of focus chosen annually.

Three awards will be presented at the festival: the "emaf Award" for a trend-setting work in media art, the "Dialogpreis" of the German Ministry of Foreign Affairs for the promotion of intercultural exchange and the "Preis der deutschen Filmkritik" for the best German experimental film.

Besides taking stock and giving an outlook, the current determination of the position of media art is also the focus of lectures and panel discussions. How has digitization changed artistic production? Which interrelationships exist between artistic and commercial media production? How have these interrelationships affected aesthetics, form and content?

Their is also an International Student Forum which offers the contact and exchange point for projects and offerings in higher education: the Hochschule für Gestaltung from K
EMAF is a full event that also includes live performances and photographic andmultimedia exhibitions.

http://www.filmfestivalworld.com/festival/European_Media_Art_Festival_EMAF/

Resource Round Up: Media Art Net/Medien Kunst Netz


















You've probably come across it doing media art research on the web, as entries from the site Media Art Net/Medien Kunst Net seem to have (and justifiably so) extremely high page rankings. The project, conceived by Dieter Daniels (now of the Ludwig Boltzmann Institute Media.Art.Research ) and Rudolf Frieling (now Curator of Media Art at SFMOMA), is a curated collection of original scholarship, reprints, photos, videos and other links that has been available on the web since 2003. The easy to navigate structure allows you to search specifically by artist, author, exhibition, art work or more loosely on themes and theoretical constructs such as 'Aesthetics of the Digital,' 'Cyborg Bodies' or 'Generative Tools.' Each document is available in both English and German, is extensively cross referenced and footnoted, and contains enough links (both within and outside the site proper) to remind us of why people were originally so captivated by the potential of 'hypertext' writing years ago. The site provides numerous texts by notable scholars, including an excellent essay entitled 'Social Technologies: Deconstruction, subversion and the utopia of democratic communication' by Inke Arns (now curator at Hartware Medien Kunst Verein in Dortmund). This smart, clear, and very dense text provides a rich sense of the history of social activism and media art. Additionally, the links imbedded within the text allows one to follow their own trajectory through the works of Guy Debord, Bertolt Brecht or Valle Export (to name only a very few). As this is only one of many illuminating and relevant essays on the site, Media Art Net is truly invaluable resource for the field. - Caitlin Jones

http://www.medienkunstnetz.de/
Image: Knowbotic Research, IO_dencies, 1997

http://www.rhizome.org/editorial/fp/month.php?month=200712

The Art, Technology, and Culture Colloquium

UC Berkeley's Center for New Media

Berkeley's ATC lecture series is an internationally known forum for presenting new ideas that challenge conventional wisdom about technology and culture. This series, free of charge and open to the public, presents artists, writers, curators, and scholars who consider contemporary issues at the intersection of aesthetic expression, emerging technologies, and cultural history, from a critical perspective.

Since its founding in 1997, the series has presented over 100 speakers, including Billy Kluver, Laurie Anderson, David Byrne, Miranda July, Gary Hill, and Bruno Latour (see full list to right).

http://atc.berkeley.edu/

มีเดีย อาร์ต Media Art


ปลายคริสต์ทศวรรษ 1960

ศิลปิน เลส เลอวีน (Les Levine) เป็นผู้ให้ศัพท์คำว่า มีเดีย อาร์ต (Media Art) ในปี 1970 “สื่อ” หรือ “มีเดีย” (media) คำนี้ (สำหรับกรณีนี้) มิได้หมายถึงส่วนประกอบทางกายภาพของศิลปะ เช่น สีอะคริลิคหรือสำริด แต่หมายถึง สื่อสารมวลชน หรือ mass media ศิลปะประเภทนี้ใช้วิธีและรูปแบบที่เผยแพร่ออกไปตามสื่อหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ โปสเตอร์ โฆษณา และบิลบอร์ด

มีเดีย อาร์ต คือ ประเภทศิลปะที่แยกย่อยจาก คอนเซ็ปชวล อาร์ต (Conceptual Art) และผู้นำที่ทำก่อนใครก็คือ พ็อพ อาร์ต (Pop Art) (ด้วยความชื่นชมต่อพ็อพพูลาร์ คัลเจอร์ (popular culture) แอนดี้ วอร์ฮอล (Andy Warhol) ใช้ภาพถ่ายจากหนังสือพิมพ์ตลาดแบบที่เรียกขานกันว่า “แท็บลอยด์” (tabloid) มาเป็นข้อมูลต้นฉบับสำหรับทำภาพพิมพ์ซิลค์ สกรีน (silk screen) พิมพ์ภาพของดาราหนัง ภาพอุบัติเหตุ และความหายนะต่างๆ

แต่พวก มีเดีย อาร์ต จะต่างจาก วอร์ฮอล พวกเขาจะวิพากษ์วิจารณ์ สื่อสารมวลชนอย่างหนักในข้อกล่าวหาที่ว่าสื่อมักจะบิดเบือนความเห็นสาธารณะ บ้างก็พยายามจะเปิดเผยถึงอคติทางอุดมการณ์ของสื่อสารมวลชน เช่น คริส เบอร์เด็น (Chris Burden) แพร่ภาพวีดีโอล้อเลียนในผลงานชื่อ Chris Burden Promo (1976) มุ่งประเด็นไปที่การเลือกที่รักมักที่ชังและการแบ่งระดับชั้นของสื่อ โดยการใส่ชื่อของเขาลงในบัญชีรายชื่อศิลปินที่ได้รับความยำเกรงซึ่งเริ่มจากชื่อของศิลปินก้องโลกอย่าง ไมเคิลแองเจโล (Michelangelo)
เดอะ กัลริลลา เกิร์ลส์ (The Guerrilla) หรือ กองโจรหญิง และ แกรน ฟิวรี (Gran Fury) ทำหน้าที่แบบพวกสื่อมวลชนนักขุดคุ้ยโดยการแฉให้คนรู้ถึงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอคติทางเพศหรือเซ็กส์สิสม์ (sexism) และเอดส์ (Aids) ในรูปของโปสเตอร์ที่พวกเขาปิดไปทั่วผนังกำแพงในนิวยอร์ค การท้าทายพลังและอำนาจของพวกคนรวยที่มักจะเข้าถึงการใช้สื่อ เลส เลอวีน ซื้อบิลบอร์ดในอังกฤษ (ระหว่างต้นคริสต์ทศวรรษ 1980) เพื่อให้เกิดการโต้ตอบในประเด็นเกี่ยวกับไอร์แลนด์เหนือและสงครามกลางเมืองผ่านข้อความที่ว่า “Block God” ตัวอย่างเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของศิลปะในสื่อและในขณะนี้ได้กลายเป็นรูปแบบของ มีเดีย อาร์ต

ศิลปิน: แอ็นท์ ฟาร์ม (Ant Farm), โจเซ็พ บอยส์ (Joseph Beuys), บอร์เดอร์ อาร์ต เวิร์คเกอร์ (Border Art Worker), คริส เบอร์เด็น (Chris Burden), โลเว็ล ดาร์ลิง (Lowell Darling), แกรน ฟิวรี (Gran Fury), กรุ๊ป แมททีเรียล (Group Material), กัลริลลา เกิร์ลส์ (Guerrilla Girls), เจนนี โฮลเซอร์ (Jenny Holzer), เลสลี ลาโบวิทซ์ (Leslie Labowitz), ซูซานน์ ลาซีย์ (Suzanne Lacy), เลส เลอวีน (Les Levine), ไมค์ แมนเดล (Mike Mandel), แลร์รี ซูลตัน (Larry Sultan), อันโตนิโอ มุนตาเดส (Antonio Muntadas), มาร์แชล รีส (Marshall Reese), มาร์ธา รอสเลอร์ (Martha Rosler), คริสตอฟ โวดิซโก (Krzysztof Wodiczko)